บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มกราคม, 2019

อารยธรรมจีน

รูปภาพ
อารยธรรมจีน       ราชวงต่างๆของจีน 1.ราชวงศ์ซิน   2.ราชวงศ์ฮั่นตะ วันออก 3.ยุคสามก๊ก 4.ราชวงศ์จิ้นตะวันตก 5.ราชวงศ์จิ้นตะวันออก 6.ราชวงศ์เหนือใต้ 7.ราชวงศ์สุย 8.ราชวงศ์ถัง 9.ยุคห้าราชวังศ์สิบอาณาจักร 10.ราชวงศ์ซ่ง 11.ราชวงศ์หยวน 12.ราชวงศ์หมิง 13ราชวงศ์ชิง       ศิลปวัฒธรรมจีน จิตรกรรม -มีวิวัฒนาการมาจากการเขียนตัวอักษรจีนจารึกบนกระดูกเสี่ยงทายเพราะตัวอักษรจีนมีลักษณะเหมือนรูปภาพ -งานจิตรกรรมจีนรุ่งเรืองมากในสมัยราชวงศ์ฮั่น มีการเขียนภาพและแกะสลักบนแผ่นหิน ที่นิยมมากคือ การ     เขียน  ภาพบนผ้าไหม ภาพวาดเป็นเรื่องเล่าในตำราขงจื๊อพระพุทธศาสนาและภาพธรรมชาติ -สมัยราชวงศ์ถัง มีการพัฒนาการใช้พู่กันสีและกระดาษภาพส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลจากพุทธศาสนาและลัทธิเต๋า -สมัยราชวงศ์ซ้อง จิตรกรรมจัดว่าเด่นมาก ภาพวาดมักเป็นภาพมนุษย์กับธรรมชาติ ทิวทัศน์ ดอกไม้ ประติมากรรม -ส่วนใหญ่เป็นเครื่องปั้นดินเผามีอายุเก่าแก่ตั้งแต่ก่อนประวัติศาสตร์ ทำจากดินสีแดง มีลวดลาย แดง ดำ และ     ขาวเป็นลวดลายเรขาคณิต -สมัยราช...

อารยธรรมอินเดีย

รูปภาพ
อารยธรรมอินเดีย             อินเดีย เป็นต้นสายธารทางวัฒนธรรมของชาติตะวันออก ( ชนชาติในทวีปเอเชีย ) หลายชาติ เป็นแหล่งอารยธรรมที่เก่าแก่แห่งหนึ่งของโลก บางทีเรียกว่า  “ แหล่งอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ ” ( Indus Civilization )  อาจแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ของอินเดียได้ดังนี้ 1.   สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ยุคโลหะของอินเดียเริ่มเมื่อผู้คนรู้จักใช้ทองแดงและสำริด เมื่อประมาณ  2,500  ปี ก่อนคริสต์ศักราช และรู้จักใช้เหล็กในเวลาต่อมา พบหลักฐานเป็นซากเมืองโบราณ  2  แห่ง ในบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำสินธุ คือ      (1)  เมืองโมเฮนโจ ดาโร (  Mohenjo Daro )  ทางตอนใต้ของประเทศปากีสถาน                  (2)  เมืองฮารับปา (  Harappa )  ในแคว้นปันจาป ประเทศปากีสถานในปัจจุบัน 2.   สมัยประวัติศาสตร์ อินเดียเข้าสู่  “ สมัยประวัติศาสตร์ ”  เมื่อมีการประดิษฐ์ตัวอักษ...

อารยธรรมเมโสโปเตเมีย

รูปภาพ
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย คำว่า เมโสโปเตเมีย เป็นภาษากรีกมาจากคำว่า Mesos เท่ากับภาษาอังกฤษว่า Middle และคำว่า Potamos เท่ากับภาษาอังกฤษว่า River รวมความแล้วหมายถึง “ดินแดนระหว่างแม่น้ำ” (land between the rivers) ได้แก่ที่ราบระหว่างแม่น้ำไทกริส (Tigris) ทางตะวันออก และแม่น้ำยูเฟรติส (Euphrates) ทางตะวันตก พื้นที่นี้ตั้งอยู่ทางทิสตะวันตกเฉียงใต้ของเอเชียในบริเวณที่เชื่อมต่อระหว่างทวีปเอเชีย ยุโรป และแอปริกา โดยเฉพาะทางตะวันตกเฉียงเหนือซึ่งหันออกสู่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เป็นจุดเชื่อมโยงติดต่อกับอารยธรรมอียิปต์โบราณ พื้นที่ของแหล่งอารยธรรมทั้งหมดจะกินอาณาบริเวณจากทะเลเมดิเตอร์เรเนียนไปสู่อ่าวเปอร์เซีย มีลักษณะเป็นรูปเสี้ยวจึงเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “ดินแดนพระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์” ครอบคลุมดินแดนบางส่วนในประเทศอิรักและซีเรียในปัจจุบัน ถือเป็นแหล่งกำเนิดอารยธรรมเก่าแก่แห่งแรก เมื่อราว 3,500 ปี ก่อนคริสตกาล จากลักษณะทางภูมิศาสตร์ของเมโสโปเตเมีย เป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำมีการทับถมของดินตะกอนตามชายฝั่งแม่น้ำทั้งสอง ทำให้บริเวณแถบนี้อุดมสมบูรณ์และมีสภาพเหมาะสมแก่การเพาะปลูก แม้ว่าสภาพอากาศในดินแด...

อารยธรรมอุซเบกิสถาน

รูปภาพ
อารยธรรมอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน (Uzbekistan) หรือชื่อทางการว่าสาธารณรัฐอุซเบกิสถาน (Republic of Uzbekistan) เป็นประเทศในเอเชียกลางที่ถูกล้อมรอบด้วยประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล (Double landlocked country) ซึ่งตั้งอยู่ในทำเลที่ขนาบด้วยแม่น้ำใหญ่ 2 สาย คือแม่น้ำอามูดารยาและแม่น้ำซีร์ดารยาซึ่งเป็นแม่น้ำ 2 สายหลักของประเทศ มีพรมแดนติดกับประเทศอัฟกานิสถาน คาซัคสถาน คีร์กีซสถาน ทาจิกิสถาน และเติร์กเมนิสถาน พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชได้ยึดครองดินแดนของประเทศอุซเบกิสถานเมื่อ 367 ปีก่อนคริสตกาล ในภายหลังดินแดนแห่งนี้ได้ถูกผนวกเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิเปอร์เซียในช่วงคริสต์ศตวรรตที่ 6 ก่อนจะถูกยึดครองโดยจักรวรรดิมองโกลของเจงกิสข่านเมื่อ ค.ศ. 1220 ในศตวรรษที่ 13 ขุนศึกชื่อติมูร์ (Timur / Tamerlane) ได้มีอำนาจเหนือมองโกล และตั้งอาณาจักรของตนเองขึ้นมาที่เมืองซามาร์คานด์ซึ่งติเมอร์ได้กลายมาเป็นสัญลักษณ์ในการสร้างชาติอุซเบกิสถานในยุคปัจจุบัน ด้วยภูมิประเทศที่มีธรรมชาติอันงดงามและหลากหลายตั้งแต่ทะเลทราย โอเอซิส ภูเขาสกีรีสอร์ทจึงเหมาะสำหรับการท่องเที่ยวหลากรูปแบบตั้งแต่การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์แ...